Skip to content
Menu
คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม
  • ufabet
  • ทางเข้า ufabet
  • แทงบอลออนไลน์
  • บาคาร่า
  • คาสิโนออนไลน์
  • รับทำ SEO
  • ดูบอลออนไลน์
  • ดูหนัง ออนไลน์
คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม

อันตรายมาก นอนกรน เสี่ยงหยุดหายใจ

Posted on มิถุนายน 17, 2020

อาการ นอนกรน
สัญญาณเกิดความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ ในขณะที่นอนหลับ ร่างกายมีการคลายตัว รวมทั้งกล้ามเนื้อบริเวณช่องคอ เช่นกล้ามเนื้อเพดานอ่อน ลิ้นไก่ ผนังคอหอย โคนลิ้น เมื่อกล้ามเนื้อคลายตัวและหย่อนตัวลง ทำให้ช่องคอแคบลง ทางเดินหายใจตีบแคบหรือเกิดการปิดกั้นทางเดินหายใจได้ เมื่ออากาศที่หายใจเข้าไปพยายามเคลื่อนตัวผ่านช่องแคบจะเกิดการสั่นสะเทือนและสะบัดของกล้ามเนื้อ หรือเนื้อเยื่อบริเวณนั้น จึงเกิดเป็นเสียงกรนขึ้น

ชนิดความผิดปกติในการ นอนกรน แบ่งเป็น 2 กรณี ดังนี้
ชนิดที่ไม่อันตราย คือ กรนเสียงเบาคล้ายเสียงหายใจและสม่ำเสมอ
ชนิดที่เป็นอันตราย คือ กรนเสียงดังแรงมาก สลับกับ ค่อย หรือเงียบเสียงร่วมกับหายใจสะดุดและสำลัก ทำให้ทางเดินหายใจมีการอุดกั้นและอาจเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ

ใครบ้างที่เสี่ยง…!!
นอนกรนเสียงดัง
ง่วงเพลียระหว่างวันอยู่เสมอๆ
มีคนสังเกตหยุดหายใจขณะหลับ
มีโรคความดันโลหิตสูง
อายุที่มากขึ้น
เพศชายมีโอกาสนอนกรนมากกว่าเพศหญิง
น้ำหนักตัวมาก หรือมีภาวะโรคอ้วน
ลักษณะโครงสร้างของกระดูกใบหน้าผิดปกติ เช่น คางเล็ก คางร่นไปด้านหลัง คอสั้นใหญ่
โรคทางต่อมไร้ท่อ ได้แก่ ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย

อันตรายจากนอนกรน…!!
หลับไม่สนิท หลับๆ ตื่นๆ อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น
หงุดหงิดอารมณ์แปรปรวน
ความต้องการทางเพศลดลง
มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความจำหรือสมาธิ
เสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตสูง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดสมองอุดตัน

โรคนอนกรนและภาวะหยุดหายใจขณะหลับ Obstructive Sleep Apnea (OSA)
เกิดขึ้นเฉพาะขณะหลับเท่านั้น เพราะขณะหลับกล้ามเนื้อบริเวณทางเดินหายใจ คอหอย หย่อนตัว ท่อทางเดินหายใจส่วนต้นก็จะฟีบเข้าหากันเหมือนการดูดหลอดกาแฟส่งผลให้หยุดหายใจหรือหายใจแผ่ว ทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ กระตุ้นให้สมองสั่งการให้กลับหายใจแรงเหมือนสำลักเพื่อเปิดทางเดินหายใจ ทำให้หลับไม่ลึกเหมือนพักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นภาวะทำให้เสี่ยงกับโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคซึมเศร้า และเบาหวาน ปัจจุบันการรักษาสามารถทำได้โดยการใส่เครื่องมือในช่องปาก ซึ่งเป็นหนึ่งในทางเลือกของการรักษาทดแทนการใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวก (หรือซีแพน) และการผ่าตัดใส่ได้ง่ายตลอดทั้งคืน อ่านเพิ่มเติม

 

ใส่ความเห็น ยกเลิกการตอบ

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

เรื่องล่าสุด

  • Bariatric surgery Risks
  • PARKINSON
  • What Causes Amblyopia Or Lazy Eye?
  • A Comprehensive Care For Chronic Wounds
  • Prevention of abdominal aortic aneurysm

ความเห็นล่าสุด

    คลังเก็บ

    • มกราคม 2021
    • ธันวาคม 2020
    • พฤศจิกายน 2020
    • ตุลาคม 2020
    • กันยายน 2020
    • สิงหาคม 2020
    • กรกฎาคม 2020
    • มิถุนายน 2020
    • พฤษภาคม 2020

    หมวดหมู่

    • blackcat agency
    • ufabet
    • Uncategorized
    • ติดฟิล์มรถยนต์เชียงใหม่
    • ฟิล์มติดรถยนต์
    • สุขภาพ
    • แทงบอล

    Meta

    • ลงทะเบียน
    • เข้าสู่ระบบ
    • เข้าฟีด
    • แสดงความเห็นฟีด
    • WordPress.org
    ©2021 คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม | WordPress Theme by Superbthemes.com