Skip to content
Menu
คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม
  • ufabet
  • ทางเข้า ufabet
  • แทงบอลออนไลน์
  • บาคาร่า
  • คาสิโนออนไลน์
  • รับทำ SEO
  • ดูบอลออนไลน์
  • ดูหนัง ออนไลน์
คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม

7 เทคนิคสั่งอาหารมาทานที่บ้านสำหรับ ผู้ป่วยโรคไต

Posted on มิถุนายน 22, 2020

สิ่งที่ ผู้ป่วยโรคไต ต้องรู้เกี่ยวการการปฏิบัติตัวและการเลือกรับประทานอาหารในสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19
ผู้ป่วยโรคไต ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ต้องล้างไตหรือทำการเปลี่ยนไตแล้ว รวมถึงผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังต่างๆ จัดว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะเจ็บป่วยได้มากและรุนแรงกว่าคนปกติ ดังนั้นการซื้อสินค้ามาเก็บไว้ที่บ้านและการสั่งอาหารมาทานที่บ้านเพื่อหลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีกลุ่มคนหนาแน่นก็ถือว่าเป็นทางเลือกหนึ่งเพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้

เทคนิคการสั่งอาหารมาทานที่บ้านสำหรับผู้ป่วยโรคไต
ปรับสัดส่วนของอาหารให้เท่ากับปริมาณอาหารที่เราทานตามปกติ เนื่องจากปริมาณอาหารจากร้านอาหารจะมี ปริมาณมากกว่า
เลือกอาหารประเภทปิ้งหรือย่างแทนการทอดหรือต้ม เนื่องจากน้ำซุปที่ร้านอาหารจะมีปริมาณโซเดียมสูง
แจ้งกับทางร้านอาหารไม่ให้เติมเกลือขณะปรุงอาหาร
อาหารที่มีน้ำซอสราดหรือแกงต่างๆ ให้แยกน้ำซอสหรือแกง ไม่ให้ราดไปบนอาหารหรือข้าว
ก่อนทานเนื้อสัตว์ทุกชนิดให้เอาส่วนบริเวณหนังออก เพราะหนังของเนื้อสัตว์จะเป็นส่วนที่มีโซเดียมจากการหมักและปรุงรสมากที่สุด
ไม่ควรใส่ซอสหรือปรุงรสเค็มเพิ่ม
ใช้มะนาว เครื่องเทศเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารแทนการใช้เกลือ

รายการอาหารโซเดียมต่ำที่ปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยโรคไต
1.กลุ่มผลไม้
ผลไม้กระป๋องที่ไม่มีการเพิ่มน้ำตาล
ผลไม้แห้ง (มีปริมาณโพแทสเซีมสูง)
น้ำผลไม้ (มีปริมาณโพแทสเซีมสูง) ยกเว้น แอปเปิ้ล, แบล็คเบอร์รี่, บลูเบอร์รี่, แครนเบอร์รี่, องุ่น, สับปะรด, สตรอเบอร์รี่, แตงโม
2.กลุ่มผัก
ผักกระป๋อง(แนะนำให้นำมาลวกด้วยน้ำก่อนรับประทานเพื่อลดปริมาณโซเดียม)
ผักแช่แข็ง
3.กลุ่มเนื้อสัตว์
เนื้อสัตว์กระป๋อง (แนะนำให้นำมาลวกด้วยน้ำก่อนรับประทานเพื่อลดปริมาณโซเดียม หรือเลือกแบบไม่แช่ด้วยเกลือ)
เนื้อสัตว์แช่แข็ง
4.กลุ่มถั่ว
ถั่วเมล็ดแห้ง ไม่โรยเกลือ (มีปริมาณฟอสฟอรัสสูง)
ถั่วกระป๋อง เลือกแบบที่มีปริมาณโซเดียมต่ำ (มีปริมาณฟอสฟอรัสสูง)
5.กลุ่มนมและผลิตภัณฑ์จากนม
นมกล่องหรือนมกระป๋อง (มีปริมาณฟอสฟอรัสสูง)
นมถั่วเหลืองและนมอัลมอนด์ (มีปริมาณฟอสฟอรัสสูง)
นมข้าว
6.กลุ่มข้าว แป้ง และธัญพืช
ข้าวขัดสี
แคร็กเกอร์หรือขนมปังอบกรอบที่ไม่โรยเกลือ
ข้าวไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวมันปู ข้าวไรซ์เบอร์รี่ (มีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูง)
ธัญพืชอบแห้ง(มีปริมาณฟอสฟอรัสสูง)
7.ไขมัน
น้ำมันพืชทุกชนิด ได้แก่ น้ำมันรำข้าว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันมะกอก

**สำหรับผู้ป่วยโรคไตที่มีปริมาณโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสในเลือดสูง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคไตทั้งก่อนล้างไตและผู้ที่ล้างไต ให้งดและจำกัดอาหารที่มีฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมสูง** อ่านเพิ่มเติม

ใส่ความเห็น ยกเลิกการตอบ

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

เรื่องล่าสุด

  • Treatment of secundum atrial septal defect
  • Sweet, Fatty, And Salty Food
  • Rectal Bleeding: The Warning Sign Of Hemorrhoids And Colorectal Cancer
  • Infographic: How to spot sugar on an ingredients list
  • Bariatric surgery Risks

ความเห็นล่าสุด

    คลังเก็บ

    • มกราคม 2021
    • ธันวาคม 2020
    • พฤศจิกายน 2020
    • ตุลาคม 2020
    • กันยายน 2020
    • สิงหาคม 2020
    • กรกฎาคม 2020
    • มิถุนายน 2020
    • พฤษภาคม 2020

    หมวดหมู่

    • blackcat agency
    • ufabet
    • Uncategorized
    • ติดฟิล์มรถยนต์เชียงใหม่
    • ฟิล์มติดรถยนต์
    • สุขภาพ
    • แทงบอล

    Meta

    • ลงทะเบียน
    • เข้าสู่ระบบ
    • เข้าฟีด
    • แสดงความเห็นฟีด
    • WordPress.org
    ©2021 คนหันมาดูแลสุขภาพและความงาม | WordPress Theme by Superbthemes.com